ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก








หัวหน้าแผนกอาวุธท่านที่สอง กับสงครามมหาเอเชียบูรพา


นายนาวาอากาศโทหลวง หลวงกรโกสียกาจ ( กอน โสมนะพันธ์ุ )วิศวกรจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายทหารเหล่าช่างอากาศ ย้ายจากตำแหน่ง
หัวหน้าแผนกที่ 2 กรมโรงงานทหารอากาศ มารับหน้าที่ หัวหน้าแผนกอาวุธ ของ
กรมเสนาธิการทหารอากาศ เป็นท่านที่สอง ตามคำสั่ง ทอ.ที่ 164/15755 ลง 
12 เมษายน พ.ศ.2484

สถานการณ์ในห้วงเวลานั้น ประเทศไทย ได้เกิดกรณีพิพาทอินโดจีนกับฝรั่งเศส กองทัพอากาศ ได้จัดตั้งหน่วยสนามขึ้นหลายหน่วย แผนกอาวุธได้รับการจัดเป็นอัตราสนาม เรียกว่าหน่วย “ ส่งกำลังการแสง” ชื่อย่อ “สก.กส.”

ในการจัดหน่วย สก.กส. นั้น ได้แบ่งออกเป็นกองต่างๆ คือ กองเทคนิค กองซ่อม และกองคลัง กำลังพลรวม 13 คนในปีพ.ศ. 2484 ต่อมา ได้บรรจุเพิ่มเติม รวมเป็น 16 คนและ 18 คน ในปีพ.ศ.2485 ปี พ.ศ.2486 ตามลำดับ โดยมีรายชื่อดังนี้.-

หน่วยส่งกำลังการแสง
ปี พ.ศ.2484
นายทหารสัญญาบัตร
1. นายนาวาอากาศโท หลวงกรโกสียกาจ
2. นายนาวาอากาศตรี แทน  เกิดสว่าง
3. นายเรืออากาศเอก เฉลิม  คชเสนีย์
4. นายเรืออากาศตรี เผิน  พลธร
5. นายเรืออากาศตรี เผด็จ  กรรณวัฒน์
6. นายเรืออากาศตรี พีระ   ศิริขันธ์       

นายทหารประทวน
ช่างประจำโรงงาน
1. จ่ากาศตรี ศิริ  บุญสนอง
2. จ่าอากาศตรี ชำนาญ  เอี่ยมสะอาด
3. พลฯ วิชัย  สโรชนันท์
4. พลฯ เสริม  แก้วประกาย
5. พลฯ เสนีย์  เชื้อประไพศิลป์
เจ้าหน้าที่คลัง
1. จ่าอากาศเอก โห้  ศรีอาภรณ์
2. พลฯ จรูญ อินสุวรรณ

ปีพ.ศ.2485
เพิ่มเติม
1. จ่าอากาศเอก จอม  นาคิน
2. จ่าอากาศเอก อาจ  พุทธชาติ
3. พลฯ ติ่ง  ภักดิ์ใจดี

ปีพ.ศ.2486
เพิ่มเติม
1. นายเรืออากาศโท ทอง  เชื่อฟัง
2. พลฯ วุฒิ  บุตรแก้วแดง

                                          ( ยังมีต่อ )


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศ ท่านที่เจ็ด แปด และเก้า เจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศ ท่านที่เจ็ด พลอากาศตรี ประดิษฐ์ บุญยะชัย พล อากาศตรี ประดิษฐ์ บุญยะชัย รองเจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศ ได้เข้ารับต ำแหน่งเจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศท่านที่ ๗ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ ต่อจากพลอากาศตรี ประภาเวชปาน ซึ่งได้เลื่อนขึ้นไปดำรงตำแหน่ง เจ้ากรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ( อัตราพลอากาศโท ) การจัดส่วนราชการ การจัดส่วนราชการภายในของกรมสรรพาวุธทหารอากาศในสมัยนี้ ยังคงใช้อัตรา ทอ. ๐๖ เช่นเดิม แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลง และปรับปรุงอัตราขึ้นใหม่ภายในกองต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจ ที่กรมสรรพาวุธทหารอากาศรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะกองวิทยาการ ได้เพิ่มแผนกวิศวกรขึ้นมา มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับวิจัยและพัฒนาดัดแปลงอาวุธ และอุปกรณ์สรรพาวุธ วิเคราะห์สาเหตุ และพิจารณาแก้ไข เพื่อลดอันตรายและอุบัติเหตุ ศึกษา ค้นคว้าและเผยแพร่วิทยาการความก้าวหน้าของสรรพาวุธ และอิเล็กทรอนิกส์สรรพาวุธ ตรวจตรากิจการในสายวิทยาการสรรพาวุธ วางแผนเกี่ยวกับการซ่อมบำรุงอาวุธและอุปกรณ์สรรพาวุธ ดำ
                                              ภาพลงสีโดย นายอดิศร สุขคมขำ     กรมสรรพาวุธทหารอากาศ วันแห่งประวัติศาสตร์ของกรมสรรพาวุธทหารอากาศ (หมายเหตุ ผู้เรียบเรียงฯ ขออนุญาตใช้สำนวนในการบันทึกแบบต้นฉบับ ที่ท่านผู้เขียนบทความ (น.อ.สนั่น สุทธิจารีย์) ได้บันทึกไว้ เพื่อคงคุณค่า และคงไว้ในประวัติศาสตร์ ด้วยความรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเยี่ยมกรมสรรพาวุธทหารอากาศ          เมื่อ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๑๓ (ตรงกับวันจันทร์ เดือน ๗ ปีจอ แรม ๑๑ ค่ำ)  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร. ๙) ได้เสด็จเยี่ยมกรมสรรพาวุธทหารอากาศ เป็นการส่วนพระองค์ โดยมี พล.อ.อ. บุญชู จันทรุเบกษา ผู้บัญชาการทหารอากาศ พล.อ.อ. ศิริ เมืองมณี รองผู้บัญชาการทหารอากาศ พล.อ.อ. หะริน หงสกุล ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ พล.อ.อ. สวัสดิ์ พรชำนิ ผู้บัญชาการกองบินยุทธการ พล.อ.ต. ประคอง ปิณฑะบุตร เจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศ นายทหารชั้นสัญญาบัตร นายทหารประทวน ลูกจ้างคนงาน ของกรมสรรพาวุธทหารอากาศ ตั้งแถวรอรับเสด็จฯ จากทางเข้าในเขตถนนก
                                                     ภาพลงสีโดย นายอดิศร สุขคมขำ _กรมสรรพาวุธทหารอากาศ เจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศ ท่านที่หก ยุคแห่งการวิจัยและพัฒนา พลอากาศตรีประภา เวชปาน พลอากาศตรี ประภา เวชปาน ได้เข้ารับตำแหน่งเจ้ากรมสรรพาวุธทหารอากาศ เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ต่อจาก พลอากาศตรี ประคอง ปิณฑบุตร ซึ่งได้ เลื่อนขึ้นไปดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษาทหารอากาศ การจัดส่วนราชการและหน้าที่ การจัดส่วนราชการภายในของกรมสรรพาวุธทหารอากาศ ยังคงใช้อัตรา ทอ. ๐๖ เช่นเดิม แต่ในปีพ.ศ.๒๕๑๗ ได้มีการปรับปรุงอัตราขึ้นใหม่ภายในกองต่างๆ โดยไม่เพิ่มอัตรากำลังพล ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจ ที่กรมสรรพาวุธทหารอากาศ รับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะกองโรงงานกระสุนวัตถุระเบิด ได้เพิ่มแผนกโรงงานลูกระเบิด ดำเนินการเกี่ยวกับการสร้าง ผลิต ซ่อม ดัดแปลงแก้ไขลูกระเบิดทุกชนิดและขนาดต่างๆ  กองพัสดุสรรพาวุธ ได้เพิ่มแผนกกระสุนวัตถุระเบิด ทั้งนี้ก็เพื่อบริการสนับสนุนกระสุนวัตถุระเบิด แก่หน่วยบิน และฐานบินต่างๆ ให้ทันกับเหตุการณ์และภารกิจ   และได้โอนฝ่ายทำลาย